Saturday, March 13, 2010

Video: Love letter from God

This is another video clip from St. Michael Archangel Church. We are attempting to make various videos for the use of youth ministry.


Wednesday, March 10, 2010

Preaching at the Diocesan Retreat

Last night, I had the opportunity to preach at the diocesan retreat in which two bishops and all the priests in the diocese were present. I was only one of two religious priests present in the retreat. The other was a Vincentian, who is the secretary of the new bishop.

I was a bit surprised as to why I was invited to preach at the diocesan retreat since usually this retreat was attended only by diocesan priests, and the preacher is one of the diocesan priests as well. However, I was assigned by Father John to be the preacher so I couldn't refused. After all, I am one of the youngest priests in the diocese and it's better for me to obey than to resist.

After I accepted the assignment, I had to spend quite a bit of time to prepare my homily because Thai is my third language. Although I am getting to be semi-fluent in the language, being able to understand virtually everything I hear, and able to say almost everything I want to express, speaking Thai is not always as smooth as I want. So in order for me to meet the standards of a retreat homily, I must be well-prepared.

I was happy in some ways to accept this task because it would be an opportunity for me to see how well I can speak in Thai to an audience that is composed of only bishops and priests. It's certainly a daunting task for any young priest, not to mention speaking in a language that's not his own.

The theme of my homily had to do with the priest's attitude towards the Good News of God. How he lives out his priestly calling, how he carries out his pastoral work, and how he perceives his life all depends on his attitude towards to the Good News. I called for priests to maintain an attitude of surprise and wonder towards the Good News and not let it become something ordinary and boring in his life. In Good News becomes a simply something that is all too familiar, then the ability of the priest to make the people to appreciate the greatness of the love of God through the Pachal Mystery would be much less effective. The priest must first have a positive attitude towards the Good News through his own meditations and reflections on the Word of God in order to help the people see the value of the Word.

The homily in Thai

กราบเรียนพระคุณเจ้า บรรดาพี่น้องสงฆ์
เมื่อพ่อจอห์นแจ้งให้ผมทราบว่าเดือนมีนาคมนี้
ผมได้รับหน้าที่ให้เป็นผู้เทศน์ในการเข้าเงียบประจำเดือนครั้งนี้..........
ผมรู้สึกกังวลใจอยู่ไม่น้อย เพราะไม่รู้ว่าจะเทศน์ถึงเรื่องอะไรดี
และก็ไม่มั่นใจว่าตัวเองจะเทศน์ได้น่าฟังแค่ไหน

ผมได้หยิบประวัติของนักบุญยอห์น เวียนเน มาอ่าน
ซึ่งเป็นองค์อุปถัมภ์ของพระสงฆ์
และเมื่ออ่านแล้วก็รู้สึกว่ามีกำลังใจขึ้นมาไม่น้อยเลยทีเดียว
จากแบบอย่างความเชื่อและความไว้วางใจของท่านนักบุญยอห์น เวียนเน
ที่มีต่อองค์พระผู้เป็นเจ้า ซึ่งเรื่องมีอยู่ว่า
เมื่อสมัยท่านยอห์นยังเป็นผู้ฝึกหัด และกำลังรับการอบรมที่จะบวชเป็นพระสงฆ์
ยอห์น เวียนเน เป็นคนที่เรียนอ่อนมาก
พ่ออธิการจึงเป็นห่วงว่าเวียนเน จะสอบไม่ผ่าน
ท่านจึงเชิญคุณพ่อที่เป็นอาจารย์ท่านหนึ่งมาทำการทดสอบ เวียนเน
เพื่อที่จะวัดความรู้ของท่าน
เวียนเนก็พยายามเตรียมความพร้อมกับการทดสอบที่กำลังจะมีขึ้น
แต่เมื่อถึงเวลาแล้ว ท่านไม่สามารถตอบคำถามที่คุณพ่อถามได้เลย
คุณพ่อรู้สึกโมโหมาก และต่อว่าเวียนเนอย่างรุนแรง ว่า
เธอโง่เหมือนลาแบบนี้ เธอคิดว่าจะทำอะไรให้พระศาสนาจักรได้
เมื่อได้ยินเช่นนั้นเวียนเน ก็พูดกับคุณพ่ออย่างช้าๆ และนบนอบว่า
คุณพ่อครับในพันธสัญญาเดิมมีบันทึกไว้ว่า
แซมซั่นได้ฆ่าชาวฟิลิปเตีย 1,000 คนโดยใช้ขาตะไกรลาเพียงชิ้นเดียว
แต่ผมซึ่งเป็นตัวลาทั้งตัว
พระเจ้าจะไม่สามารถใช้ผมทำอะไรให้สำหรับพระองค์ได้เชียวหรือ?
ที่สุดแล้วลาที่ชื่อ เวียนเน ไม่ใช่เพียงแค่บวชเป็นพระสงฆ์เท่านั้น
แต่ได้ถูกยกย่องสรรเสริญให้เป็นนักบุญและเป็นองค์อุปถัมภ์ของพระสงฆ์ทุกองค์
จากแบบฉบับความเรียบง่ายและศักดิ์สิทด์ของท่าน
ถ้ามองย้อนไปแล้วพบว่าตัวเราเองรู้สึกท้อกับบางอย่าง
ก็สามารถรับความบรรเทาใจจากแบบอย่างของท่านนักบุญ ยอห์น มารีย์ เวียนเนได้น่ะครับ

เมื่อพิจารณาแล้วผมเห็นว่าเดือนนี้เรากำลังอยู่ในเทศกาลมหาพรตและปีพระสงฆ์
ผมก็เลยตัดสินใจว่าน่าจะเอาสองอย่างนี้มาแบ่งปันในค่ำคืนนี้
และเมื่อผมคิดถึง 2 เรื่องนี้ น่าแปลกใจนิดหนึ่งน่ะครับ
สิ่งที่ปรากฏมาในสมองผมคือ เรื่องความรัก
อาจจะเป็นเรื่องความรักของผม หรือ
ของคุณพ่อบางท่านที่ได้ประสบในชีวิตเมื่อยังครั้งในอดีต
แต่ผมก็อยากจะเล่าประสบการณ์ของผู้ชายคนหนึ่งซึ่งเขาเป็นเพื่อนของผมเอง
เมื่ออาทิตย์ที่แล้ว ผมได้คุยกับเขาซึ่ง เขาได้เล่าเรื่องความรักของเขา ตอนเขาอายุ 16 ปี
เขาได้แอบรักผู้หญิงคนหนึ่งซึ่งเรียนอยู่ห้องเดียวกับเขา
เธอนิสัยดี และน่ารัก เขาตกหลุมรักอย่างแรง
ทุกๆวันเขาอยากบอกความในใจของตัวเองให้เธอได้รับรู้แต่ก็ไม่กล้าสักที
บางครั้งก็เขียนจดหมายรักที่จะส่งให้เธอ แต่ที่สุดแล้วก็ไม่ได้ส่งอีกเช่นเคย
เป็นเวลานานทีเดียวกว่าเพื่อนของผมคนนี้จะรวบรวมความกล้าและบอกความรู้สึก
ที่มีต่อเธอให้รับรู้สักที
และเขาก็ตื่นเต้นและดีใจมากเมื่อเธอยอมไปเที่ยวกับเขาในวันเสาร์ที่กำลังมาถึงนี้
หลังจากนั้น ตลอดทั้งอาทิตย์ก่อนที่จะไปเที่ยว
เพื่อนของผมก็กังวลว่าเธอจะยกเลิกและไม่ไปกับเขา
หรือเขาอยากจะหูฟาดและฟังผิดว่าเธอจะไปด้วย
เวลาดูเหมือนว่าจะผ่านไปอย่างช้าๆ และนานแสนนาน
แต่สุดท้ายแล้ววันเสาร์ ก็มาถึงจนได้
เขาตื่นแต่เช้าและสิ่งแรกที่เขาคิดถึงคือวันนี้
ตัวเองจะได้ไปเที่ยวกับคนที่ตัวเองแอบชอบมานาน
แต่เขาก็ยังครุ่นคิดและวิตกกังวลว่ามันเป็นเรื่องจริงหรือเปล่าหรือกำลังฝันไป
“เราจะได้ไปเที่ยวกับเธอจริงๆหรือ ไม่น่าเชื่อเลยที่เขายอมคบเรา”
ความรู้สึกนี้มีทั้งดีใจและประหลาดใจ
เพราะสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นในเวลาต่อไปนั้นเป็นสิ่งที่ไม่เคยคาดฝันมาก่อนเลย

คุณพ่อบางคนอาจจะสงสัยว่าผมเล่าเรื่องนี้มีความเกี่ยวข้องอย่างไร
กับเทศกาลมหาพรตหรือชีวิตสงฆ์
แต่ผมก็ขอแบ่งปันชีวิตสงฆ์ของผมเองซึ่งอายุการบวชไม่นานนัก
แต่มันก็คงพอที่ทำให้ผมสังเกตเห็นว่า
ในการบวชเป็นพระสงฆ์นั้น
ภารกิจที่ยิ่งใหญ่ที่พระผู้เป็นเจ้ามอบหมายให้
บทบาทหน้าที่ในการรับใช้พระองค์และประชากรของพระองค์
และการประกาศข่าวดีของพระองค์ให้แก่ทุกคนนั้น
อยากจะกล่าวได้ว่า ภารกิจ นี้อยากเป็นกางเขนอันใหญ่
ทำแล้วอาจมีบางครั้งที่รู้สึกว่างานรับใช้พระเป็นเจ้า
งานประกาศข่าวดีของพระองค์นั้น
มันเหน็ดเหนื่อยเหลือเกินและรู้สึกอ่อนล้าทั้งกายและจิตใจ
บางทีการทำงานอภิบาลอย่างเต็มที่แต่เกิดผลน้อย
ก็ทำให้รู้สึกท้อใจอยู่ไม่น้อย
อาจจะมีบางครั้งที่เรากำลังเทศน์เกี่ยวกับข่าวดี
โดยที่ภายในจิตใจเต็มไปด้วยความแห้งแล้ง ขาดพลังใจพลังกาย
ในขณะนั้นตัวเราเองก็ไม่เชื่อในข่าวดีที่กำลังประกาศอยู่เลย……

ชีวิตของพระสงฆ์อาจจะหลีกเลี่ยงกับความรู้สึกในแง่ลบอย่างนี้ไม่ได้เสมอไป
แต่อาศัยพระหรรษทานของพระเป็นเจ้า
เราก็หวังได้อย่างมั่นใจว่า ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นในชีวิตเรา
เราก็จะมีความสุขและความสุขนั้นไม่ได้มาจาก
การที่เราทำงานสำเร็จหรือไม่สำเร็จ
ไม่ได้มาจากการที่เรามีงบประมาณเพียงพอสำหรับ
กิจกรรมนี้สำหรับกิจกรรมโน้นหรือไม่
แต่มาจากทัศนคติที่เรามีต่อข่าวดีขององค์พระผู้เป็นเจ้านั้นเอง

ความรู้สึกที่ตื่นขึ้นมาในตอนเช้า
ลืมตาแล้วจำได้ว่าวันนี้เราจะได้เจอคนที่เรารัก
สิ่งที่เราไม่คิดว่าจะเป็นไปได้ก็เป็นไปแล้ว
ทุกท่านครับความรู้สึกนี้เป็นความรู้สึกที่ดีมากๆ
เป็นความรู้สึกที่ผมหวังว่าตัวผมเองจะมีเมื่อคำนึงถึงข่าวดีของพระองค์
จะเป็นการดีมากๆ ถ้าทุกเช้าที่ตื่นขึ้นมา
สิ่งแรกที่ผมคิดถึงคือ ความรักที่พระเยซูเจ้ามีต่อเรา
พระองค์ได้กอบกู้เราและมอบชีวิตนิรันดร์ให้กับเรา
จะดีมากเพียงใดถ้าทุกเช้าตื่นมาพร้อมกับความทรงจำที่ว่า
เราเป็นคนที่พระองค์ได้เลือกสรรเอง ที่จะให้เป็นพยานยืนยันถึงพระองค์
ทั้งที่ตัวเราเองอาจจะไม่เหมาะสมเท่าที่ควร….
นี่เป็นข่าวดีที่สุดที่เราจะต้องประกาศให้ทุกคนได้รู้
จะดีเพียงใดถ้าทุกเช้าตื่นขึ้นมาผมจำได้ว่าชีวิตนี้มีความสุขมาก
เพราะเรากำลังอยู่ในความรักของพระเป็นเจ้า
ถ้าผมมีความรู้สึกเช่นนี้ผมก็จะออกจากเตียง
ด้วยความกระตือรือร้นกับการเริ่มต้นวันใหม่
ความสุขนั้นจะทำให้ยิ้มได้เมื่อพบคนอื่น
จะทำให้เรามองเด็กๆ ที่มาหาเราด้วยความเอ็นดู
มองคนแก่ด้วยความรัก
มองคนขัดสนด้วยความเมตตา
และมองภาระที่หนักอึ้งของเราด้วยความพากเพียร
แม้ชีวิตรับใช้พระจะมีอะไรหลายอย่างที่มองดูแล้วจะยากลำบากเหลือเกิน
แต่ไม่มีอะไรมีพลังเหนือความสุขที่ฝังอยู่ในส่วนลึกของจิตใจของเราได้

อันที่จริงก็อาจจะมีพระสงฆ์นักบวชหลายๆท่านไม่สามารถรู้สึกอย่างนี้
ต่อข่าวดีของพระองค์ได้
ตอนเช้าตื่นนอนแล้วก็ลงจากเตียงอย่างเหนื่อยล้า
มองคนรอบข้างอย่างไร้ความผูกพัน
และมองงานของตัวเองอย่างขาดความหวัง
ในชีวิตของเราไม่มีที่ว่างสำหรับความสุขเลย
เพราะเราสาระวลกับปัญหาต่างๆ ที่เราจะต้องจัดการทุกๆวัน

เพราะฉะนั้นสิ่งที่ผมอยากเสนอในค่ำคืนนี้
คือเราจะต้องพยายามไม่ทำให้ความรู้สึกประหลาดใจและอัศจรรย์ใจ
ต่อข่าวดีของพระองค์หายไปในชีวิตของตัวเรา
ข่าวดีของพระองค์ควรเป็นแรงบันดาลใจให้พวกเรา
ช่วยกระตุ้นให้เรามีความคิดที่น่าสนใจและแปลกใหม่ขึ้นมาเสมอ
ถ้าเราปล่อยให้ข่าวดีกลายเป็นสิ่งที่เก่าและน่าเบื่อหน่ายในชีวิตของตัวเราเอง
แล้วการที่เราจะทำให้คนอื่นสามารถเข้าใจและซาบซึ้งในข่าวดีนั้น
อาจจะไม่ค่อยมากนัก

พวกเราทุกคนอาจเคยเล่าเรื่องตลกให้คนอื่นฟัง
หรือฟังคนอื่นเล่าเรื่อง แล้วความตลกของเรื่องที่เล่านั้น
อยู่ตรงที่ข้อสุดท้ายก็จะพูดออกมา
ซึ่งในภาษาอังกฤษเราเรียกว่า Punchline
Punchline คือ สิ่งที่จะทำให้ทุกคนต้องหัวเราะเพราะว่า เขาไม่ได้คิดถึงสิ่งนั้น
แต่ที่จริงเราก็เคยฟังคนอื่นเล่าเรื่องที่เราเคยได้ยินมาหลายครั้ง
เมื่ออยู่ในสถานการณ์เช่นนี้เราสามารถทำตัวได้ 2 แบบ
1.) เราอาจทำตัวไม่สนใจ เพราะเรารู้เนื้อหาเรื่องนี้แล้ว
บางทีเราก็จะประกาศว่าเรารู้เรื่องนี่แล้ว ซึ่งก็ทำให้ผู้เล่าเสียความรู้สึกนิดหนึ่ง
2.) เราทำตัวเหมือนว่าเราไม่เคยได้ยินเรื่องนี้มาก่อนเลย
เพื่อเราจะได้หัวเราะกับคนอื่นเมื่อผู้เล่า เฉลย the punchline
คนเล่าก็จะรู้สึกดีกับเสียงหัวเราะของผู้ฟัง
และตัวเราก็ได้รับประโยชน์เพราะการหัวเราะนั้น
เป็นเหมือนยาบำรุงสุขภาพได้เป็นอย่างดี
ภาษาเวียดนามมีถ้อยคำว่า หัวเราะหนึ่งที เท่ากับกินยาบำรุงสุขภาพ 10 ครั้ง

ข่าวดีของพระเจ้าในชีวิตของเราก็เช่นกัน
สำหรับข่าวดีที่เราอ่านและประกาศทุกๆ วันนั้น
บางทีเราคิดว่าเราเข้าใจเนื้อหาของบทอ่านต่างๆ ดีแล้ว
เพราะเราอ่านบทนั้นๆ มาไม่ทราบกี่ครั้งแล้ว
เพราฉะนั้นเวลาเตรียมบทเทศน์บางครั้งเราก็จะเปิดหนังสือ
เพื่อที่จะดูว่าอาทิตย์นี้มีบทพระวรสารอะไร
แต่ไม่อยากใช้เวลาในการอ่านพระวรสารและ บทที่ 1 ที่ 2 และเพลงสดุดี ทั้งหมด
ที่เป็นเช่นนั้นอาจเพราะ เราคิดว่าเรารู้และเข้าใจเรื่องนั้นแล้ว
จึงไม่จำเป็นต้องอ่านเพราะรู้ว่าจะต้องเทศน์อย่างไร

ทัศนคตินี้อาจจะนำไปสู่การขัดขวางสิ่งอัศจรรย์
ที่สามารถเกิดขึ้น เพราะ เราลืมว่า ข่าวดีมีความเป็นปัจจุบันเสมอ
ซึ่งสามารถช่วยให้เราเข้าใจถึงความหมายของสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
และได้ค้นพบน้ำพระทัยของพระองค์ในเหตุการณ์นั้นเอง
สิ่งแปลกใหม่จะเกิดได้ทุกๆ ครั้งที่เราเปิดพระคัมภีร์และอ่านอย่างตั้งใจและจริงใจ
ถ้าเรามองเรื่องต่างๆในพระวรสารเป็นแค่เรื่องคุ้นหูที่เคยอ่าน เคยฟังแล้วหลายๆ รอบ
และไม่รู้สึก surprise ต่อความคืบหน้าในแต่ละเรื่องนั้นแล้ว
ก็ถือว่าเราไม่ให้โอกาสตัวเองและคนที่จะได้ฟังเราเทศน์สอน
ที่จะเข้าใจและซาบซึ้งในสิ่งที่ดีๆ ที่พระวรสารสามารถนำมาให้แก่เรา

พี่น้องสงฆ์ครับผมหวังว่าในชีวิตของเราทุกคน
พวกเราจะพยายามไม่ทำให้ความรู้สึกอัศจรรย์ใจต่อสิ่งที่ยิ่งใหญ่
ที่พระเป็นเจ้าได้ทำให้แก่เราในพระธรรมล้ำลึกแห่งความทุกข์ทรมาน
และการกลับคืนพระชนม์ขององค์พระเยซูคริสตเจ้า
เพื่อที่จะนำความรอดพ้นมาสู่ชาวเราหายไป
ในเทศกาลมหาพรตยิ่งต้องอ่านและรำพึงพระวาจาของพระเจ้า
และแนะนำสัตบุรุษให้เข้าใจถึง คุณค่าของพระวาจานั้น
การอ่านและรำพึงพระวาจานั้นไม่ใช่แค่กิจกรรมที่ช่วยให้เราเข้าใจ
สิ่งที่พระองค์ทรงสอนเท่านั้น
แต่เป็นการไตร่ตรองและตระหนักถึงความรักอันยิ่งใหญ่ของพระองค์

เมื่อเร็วๆนี้ผมได้รับจดหมายฉบับหนึ่งจากแม่ผมที่อเมริกา
ผมก็เปิดอ่านหลายรอบ อ่านแล้วอ่านอีก
ที่อ่านหลายรอบนั้นไม่ใช่เพราะผมไม่เข้าใจสิ่งที่แม่เขียน
แต่ผมแค่อ่านเพราะผมรู้ว่าคำพูดนี้มาจากคนที่รักผมมากก็เลยอ่านกี่รอบก็ไม่รู้จักเบื่อ
ถ้าปล่อยให้ข่าวดีของพระเจ้ากลายเป็นสิ่งที่เก่าแก่และน่าเบื่อในชีวิต
คงเป็นการยากที่จะเกิดความก้าวหน้าบนหนทางแห่งการประกาศพระวาจาของพระเจ้า
ในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ ในศีลศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ และในงานอภิบาล
ที่เราทำให้กับสัตบุรุษของเราทุกๆวัน

สุดท้ายนี้ผมก็ขอภาวนาเพื่อพวกเราทุกคนเพื่อให้เราได้รับพละกำลังกายใจ
และมีความเพียรในการทำภารกิจที่เราได้รับจากองค์พระผู้เป็นเจ้าในวันบวชเป็นพระสงฆ์
ขอให้พวกเรามีความเร่าร้อนในการประกาศข่าวดี
ที่จะทำให้ผู้ฟังรู้สึกเหมือนกับว่าเขาเพิ่งตื่นในตอนเช้า
และก็จำได้ว่าเขากำลังรักและถูกรัก
และที่รักของเขาไม่ใช่ใครอื่นนอกจาก องค์พระคริสตเจ้า
ผู้ทรงพลีชีพเพราะรักมนุษย์ที่อ่อนแอและผิดพลาดนั่นเอง
ขอให้พวกเราจดจำว่า
ความรักที่สวยงามที่สุดที่ไม่เคยทำให้เราผิดหวังแม้สักครั้งเดียว
คือ ความรักระหว่างองค์พระผู้เป็นเจ้าและเราแต่ละคนนั่นเอง


Wednesday, March 3, 2010

Challenge for Christian missionary in the Thai spiritual milieu




There are three anecdotes that reveal quite a bit about religious beliefs and habits held by Thai people. The first anecdote was told to me by a priest in Bangkok. In front of a church located in a busy district of Bangkok, there is a motorbike taxi “station”. Here men, clad in orange jackets wait for passengers needing to go to the Sky Train station or other places in the city. Just inside the gate is a small shrine to Our Lady where there are always flowers which have been offered by the people. According to parish priest at the church, that shrine was not always there. Before it was built, when walking by that corner of the church ground, one was often attacked by a foul odor that one was quite certain caused by men working all day on the side of the street without a public restroom nearby. However, ever since the shrine was placed there, the foul odor has disappeared, and one often saw these same men “wai”(1) in front of the statue of Our Lady as they begin their day of work, praying for a good earning. For these Buddhist men, the fact that they wai to Our Lady wasn’t because they knew who she was or what she stood for; they only hoped that whoever she was, she would help them.

The second anecdote also relates to the act of praying in front of statues. In Thailand, all businesses big and small, have shrines to either the Buddha or various gods. Central World, one of Bangkok’s upscale shopping centers, have ornate shrines placed side by side on the wide plaza in the front dedicated to both the Buddha and a Hindu god. From morning to late night, the shrines are encapped in smoke as people of all ages come to make offerings and earnestly pray for the things that they need in life. It would not be odd to see the same person praying before the Buddha one day, then before the Hindu god the next. By the Erawan hotel not far away, one such shrine is a tourist destination where people make offering requests at a business table. When it is their turn, they kneel below a tent, pressing their palms together in deep prayer, while behind them, a troup of traditional Thai dancers perform and chant.

The third anecdote takes us from Thailand’s bustling capital to one of the villages in Nong Khai province in the northeast region, where recently, villagers discovered a strange plant growing up from the soil. They haven’t seen this plant before, but its peculiar features led them to believe that the plant may have special power. Villagers thus began bringing incense and flowers to place around the plant, praying for various needs. Some prayed for luck in winning the lottery.

According to a count in 2004, in Thailand, there are 40,717 Buddhist temples. The country population is almost 65 million. Most Thai identify themselves as Buddhists, including the villagers who bring incense and candles to offer to the strange flower and the motorbike taxi men who prostrate before the statue of Our Lady.

What one observes in Thai people’s spirituality is the eclectic nature in their beliefs that incorporate elements of Buddhism, Brahmanism, and animism into a complex system that is nearly impossible to say it is either this or that. While Western mentality and religions tend to make clear distinctions as to what one must renounce when one chooses to believe in certain things, Thai people seem to think that they can believe in anything as long as whatever it is that they believe in suits their needs and they have true faith to that thing. Recently, I met a woman who was well educated in the Buddhist religion and rituals, but she has also chosen to follow and learn from a Catholic priest because she is impressed with what Catholicism teaches her. She describes her religion as “Buddolic,” so to speak. My barber told me the Buddha would never forbid you from prostrating before a plant if you believed it was holy.

This fluidity in Thai people’s spirituality has made them welcoming of Christian missionaries in their midst, but presents extreme challenges to the missionaries who find themselves unable to grasp the seemingly arbitrary and noncommittal attitudes of the Thai people to specific tenets of the particular religion in which they profess to follow. Despite the huge numbers of temples built, many on vast grounds, the temples stand mostly quiet throughout the year. Thai people seldom go to temple except on some special occasions. Temples seem to be most crowded when there are annual feasts organized with food and free music concerts.

As a result, many Thai Catholics who live among the mostly Buddhist population, influenced by their outlook, also adopt an attitude in which they see going to church as not an essential part of their spiritual life. This problem is further exasperated in a place such as Nong Bua Lamphu province, where the only Catholic church in the entire region has been open a mere 6 years, whereas Catholics have been present in the area for decades.

Thai Buddhists, while not placing heavy value on going to temples, do place a lot of value on the act of merit making (tham bun). Thai people are often seen lining up the streets in the morning to provide food to monks passing by. Others go to the temple to offer food and other material things to the monks, especially on their birthdays or death anniversaries of loved ones. The support for construction and maintenance of temples is one of the primary methods of gaining merit for Thai people. It may be said that merit making is the pillar of Thai people’s practical religious observance and the act that they are most strongly committed to. The act of giving alms to the monk to make merit for oneself or for loved ones, especially the deceased, has become so ingrained in the Thai spiritual observance that it often becomes the thing that prevents them from following other religions that forbid such an act.

In many ways the Buddhist practice of merit making has influenced the thinking of Catholics and have shaped their spiritual outlook, both negatively and positively. Like Thai Buddhists, many Catholics place the act of merit making above regular church attendance. At my church, some families are never seen at the church except on tham bun occasions, particularly death anniversaries. Well-off families may present all sorts of goods on that day and help fill up the church from wall to wall. But the following week, none of them are seen in church again until the following death anniversary occasion. Many non-church going Catholics are also very willing to donate to the church when asked, such as donating flowers or contribute to church programs and feasts. This reality makes one wonder whether Catholics, like Buddhists, also depend primarily on their good works to get to heaven. Nonetheless, it can also be very heart warming to see Thai villagers in the offertory procession, lining up to present father with small fruits of their labor – a basket of bananas, a bag of rice, or other things that they have bought.

Thai Buddhism is unlike Buddhism anywhere else in the world. The Thai worldview is rather fluid and some might even say, arbitrary. In this milieu, it is hardly surprising to see that although welcomed, Christian missionaries find it difficult to attract Thai people to follow a religion that can be very strict and uncompromising in certain beliefs and practices, and does not accept one believing in multiple traditions simultaneously. This dilemma is illustrated rather well by small but telling problem for some Catholics who are taught that they cannot give alms to Buddhist monks. This has led some good-hearted Thai Christians to ask the parish priest, “Father, is it a sin to do merit?”

Tuesday, March 2, 2010

Church Newsletter March 2010





Children Ministry Video

St. Michael Archangel Church Radio Second Week Lent

Word of God



Gospel Music Progam



Talk Program

Monday, March 1, 2010

One of my favorite Thai church songs

The title of this song is พักพิงในพระเจ้า (Resting in God). It expresses the feeling of comfort and peace when we place our trust in God. We are able to face all the difficulties of life knowing that God is always by our side.



พักพิงในพระเจ้า/Rest in the Lord

เมื่อทะเลต้องพบมรสุมแปรปรวน
As when the sea encounter storm tempest
ชีวิตคนเราก็เป็นเช่นนั้น
Moments in lives could just be so
ยามทุกข์เจียนตายดุจดั่งโดนคลื่นซัดสาด
Great tidal wave beat pain right to the core
ขาดที่กำบังไร้ที่พักพิง
No refuge no rest evermore

แต่อย่าลืมว่าพระองค์เฝ้าดูเราอยู่
Let's not forget the Lord is watching you
พร้อมที่จะชูใจที่อ่อนแรงระอา
Ready to heal your broken heart
อย่าหันไปจากพระพักตร์ที่แสนเมตตา
Do not waver from His loving presence
มอบชีวิตให้พระองค์นำพา
Surrender your life to Him

พักพิงในพระเจ้า พักพิงในพระองค์
Rest in the Lord, Rest your soul in Him
พระทรงเป็นศิลามั่นคง
Strong refuge and fortress is He
พระองค์เป็นพระเจ้า พลังความรอดบาป
He is our Lord, salvation and power
ทรงเป็นโล่เป็นกำบังที่เข้มแข็ง
He's a shield, a stronghold so true

ต่อไปนี้ฉันจะไม่ ต่อสู้เพียงลำพัง
From now on, I will not face my foes all alone
เพราะพระองค์ผู้ทรงมีชัย เหนือความตายความบาป
'Cos the Lord who hold victory o'er death and sin
ทรงเดินไปเคียงข้างฉัน
Has now journeyed with me